受到Covid-19的影响,许多人陷入了无事可做,漫无目的的境地,整日空虚,觉得人生没有意义,这很有可能是由于你的心理状况出现问题了。

文章带读:
(音频-可在沪江泰语公众号上收听)
朗读:(泰)ศิริวัช หวังสม

Languishing คือ การอยู่ในภาวะว่างเปล่า จะเกิดอารมณ์ที่รู้สึกเนือยๆ ไม่อยากทำอะไรเป็นพิเศษ เกิดความรู้สึกขาดแรงจูงใจ ไร้จุดมุ่งหมายในชีวิต เพราะไม่รู้ว่าในอนาคตข้างหน้านั้นจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง รู้สึกสับสนกับช่วงเวลาที่ยากลำบาก ไม่ได้หมดหวัง แต่ก็ไม่ได้มีความสุขหรือจะมีแรงที่จะทำอะไรใหม่ๆ
Languishing是指处于空虚的状态,会觉得懒懒的,什么事情都不想做,失去动力,没有生活的目标,因为不知道未来将会发生什么,对目前困难的处境感到困惑,并不是没有希冀,但没有快乐或是有精力去做新的事情。

คำว่า Languishing นั้นถูกคิดค้นโดยนักสังคมวิทยาชื่อว่า Corey Keyes จาก Emory University ในช่วงราวๆ ปี 2002 เขากล่าวไว้ว่า มนุษย์อาจจะเจอกับภาวะ Languishingมากขึ้นในทศวรรษถัดไป
2002 年左右,埃默里大学社会学家 Corey Keyes 创造了“Languishing”一词。他说: 接下来的十年,人类可能会面临更多的Languishing(萎靡)境地。

ภาวะ Languishing นั้นยังไม่นับว่าเป็นอาการหรือปัญหาในทางการแพทย์ แต่ก็ต้องเฝ้าระวังเพราะอาจส่งผลต่อสุขภาพจิตในระยะยาวหรืออาจจะเป็นปัจจัยที่นำไปสู่ปัญหาสุขภาพจิตได้ในอนาคต
Languishing(萎靡)不被视为一种症状或者是医学问题,但必须对其进行监测因为从长远来看,这可能会影响您的心理健康,或者可能是导致未来心理健康问题的一个因素。

หากให้อธิบายภาพของอาการนี้ให้ชัดขึ้น มีคนกล่าวมันคืออาการกึ่งกลางระหว่าง ภาวะซึมเศร้ากับภาวะที่ความสุขเจริญงอกงาม มันไม่ใช่อาการหมดไฟ เพราะยังสามารถลุยต่อไปแค่รู้สึกไม่สนุกที่จะทำ
如果要更清楚地描述这种症状,有人说它介于抑郁和欣喜若狂的状态之间,这并不是精疲力竭的迹象,因为仍然可以继续,只是感觉没有兴趣做下去。

 

如果有人遇到这种症状,小编在这里建议大家试着敞开心扉去做新的事情,试着开始寻找、设定生活中的小目标,让自己快乐,让自己有生活的动力。

声明:本文由沪江泰语编译整理,素材来自sanook,未经允许不得转载。如有不妥,敬请指正。